Georgia Music Mag Music การ Rap

การ Rap

<strong>การ Rap</strong> post thumbnail image

หลังจากเราได้ดูรายการแข่งที่เฟ้นหาแร็ปเปอร์มาพักใหญ่ สิ่งที่เราคิดว่าพึงมีคุณค่าน่าฟังอย่างหนึ่งในรายการคือ คำแนะนำของโปรดิวเซอร์ที่บอกให้กับน้องๆ ที่กำลังเริ่มเดินบนเส้นทางนี้ ว่าต้องกลับไปปรับแก้ไขแบบไหนด้วยเวลาอันจำกัดของรายการ อาจจะไม่ได้มีการขยายความว่าสิ่งที่พวกเขาพูดนั้นมันหมายความว่ายังไง เราเลยคิดว่าถ้าเอาให้ได้อ่านกันต่อ น่าจะมีประโยน์กว่าการบ่นด่าทอต่อความจากดราม่า 

1. ขอแร็ป 16 บาร์หน่อยซิ และเรื่องต้องรู้เกี่ยวกับ Time Signature ในการคัดตัวแร็ปเปอร์ คือ ถ้าโปรดิวเซอร์อยากรู้ว่ามีของเพิ่มในคลังสมองไหม หรือการเอาตัวรอดจากเส้นตาย นี่คือขอนไม้ท่อน สุดท้ายที่เกาะได้ ว่าแต่ 16 บาร์เขานับกันยังไง ที่เขาเรียกว่านับบาร์ก็คือ การนับอัตราส่วนห้องดนตรี นั่นล่ะ ซึ่ง 1 ห้อง ก็จะมีสัดส่วนแบบนี้
2. intro คือการปูเปิดเรื่อง จุดเริ่มต้นของเรื่อง จั่วหัวเรื่อง pre-hook คือหลังจากปูหัวเรื่องแล้ว กำลังเข้าจุดขมวดของเรื่อง เข้าปมของเรื่อง hook คือ แก่นของเรื่อง จุดกระชากความสนใจ คำที่ต้อง ใช้คือคำที่คุณคิดว่ามันต้องหยุด มันสามารถฟังต่อแล้วติดปากไปได้ ความแข็งแรงมีเท่าไหร่มีไว้ใส่ตรง นี้
3. Dynamic พลิกความน่าสนใจ ไม่ใช่มีแค่ Flip & Flow แร็ปเปอร์บางคนตั้งใจมาแสดงความ พลิกเแพลง บางคนมาออกแนวเสียงดัง หวังผลว่าตัวฉันนั้นจะแร็ปโหด ทำเสียงเหมือนว่าจะแร็ปโกรธ ซึ่งจริงๆ เราไม่จำเป็นต้องทำแบบนั้น แต่บางคนก็เล่าเรื่องด้วยน้ำเสียงราบเรียบเป็นระนาบเดียว
4. Punch Line  ต่อยให้ตายด้วยคำคล้อง เวลาคุณไปแข่งแร็ปที่ไหน คุณมีเวลาในการปูจุดสนใจไม่ นานนัก ปกติเขาให้ไม่เกิน 1 นาทีเพราะหัวใจของการแร็ปอย่างคือ “story telling” ฉะนั้นการเข้าใจ ปูโครงสร้างเรื่องจึงจำเป็น การเขียนเพลงฮิป-ฮอป กับเพลงแนวอื่นๆ มันก็ไม่ต่างกัน มันต่างกันแค่วิธี ที่คุณใช้สื่อสารก็แค่นั้น เวลาที่เขาเขียนเพลงหลักๆ เราจะแยกท่อนแบบนี้

การแร็ปนั้นไม่ใช่เรื่องง่ายสำหรับทุกคน ต้องมีการฝึกฝน มีความขยันและมีความอดทนเพราะการแร็ปนั้นยากและต้องอาศัยองค์ความรู้ ต้องมีความรู้เกี่ยวกับการแร็ปให้มากที่สุด เพื่อที่จะสามรถแร็ปออกมาได้ดี

Related Post

คาราโอเกะ

รวม 5 ร้าน คาราโอเกะทั่วกรุงเทพฯ ตอบโจทย์คนอยากร้องเพลงรวม 5 ร้าน คาราโอเกะทั่วกรุงเทพฯ ตอบโจทย์คนอยากร้องเพลง

รวมพิกัดร้านคาราโอเกะ นัดเพื่อนมาร่วมกันระบายความเครียด แล้วมาจับไมค์ร้องเพลงกันดีกว่า กับ คาราโอเกะทั่วกรุงเทพฯ เดินทางง๊ายง่าย พร้อมให้คุณมาร้องเพลง พร้อมแล้วลุยกันเลย ร้านคาราโอเกะร้านแรกที่เราจะไปกันคือ Karaoke City ย่านลาดพร้าว ที่ร้านตกแต่งสไตล์การตกแต่งร้านตามภูมิภาค อย่างเช่น โซนเอเชีย มีห้องโซล ห้องกรุงเทพฯ หรือแม้แต่โซนยุโรป อย่างห้องอัมสเตอร์ดัม ห้องลอนดอน ห้องปารีส  นอกจากนั้นยังมีบริการอาหาร เครื่องดื่มทุกชนิดที่คุณต้องการ อินเทอร์เน็ตความเร็วสูง แล้วยังมีมุมให้ถ่ายรูปเยอะแยะ แถมบรรยากาศก็ชิล ถือว่าเป็นร้านคาราโอเกะที่พร้อมให้คุณมาระบายความเครียดหลังจากทำงานเลย ร้านคาราโอเกะชื่อดังย่านทองหล่อ สุมขุมวิท 55

แนวเพลง

แนวเพลงแนวเพลง

ทุกคนคงพอรู้จักแนวเพลงกันมาบ้าง แต่วันนี้เราจะมาทำให้ทุกคนรู้จักแนวเพลงแต่ละแนวมากขึ้น และพามารู้จักว่าแนวเพลงนั้นมีกี่แนว และแต่ละแนวนั้นมีเอกลักษณ์เฉพาะตัวหรือมีดนตรี จังหวัของดนตรีที่เฉพาะตัวอะไรบ้าง  นอกจากนี้ยังอาจจะสร้างแรงบันดาลใจให้กับคนที่อยากจะทำเพลง คิดแนวเพลงใหม่ๆได้  1. POP แนวเพลงที่ฟังแล้วรู้สึกร่าเริง สดใส มันจะรู้สึก ป๊อบๆ อยู่ข้างใน ซึ่งจะไม่ค่อยจำกัดเครื่อง ดนตรีที่ใช้ซักเท่าไหร่นัก 2. JAZZ แนวนี้ก็จะร่าเริงเหมือนกัน แต่ไม่ได้ร่าเริงเหมือน POP , Jazz จะค่อนไปทางร่าเริงแบบ หรูหรา เครื่องดนตรีที่ใช้ส่วนใหญ่ก็จะเป็นเครื่องลม(แซ๊กโซโฟน เป็นต้น) อาจจะมีเครื่องดนตรีแบบ อื่น มาเสริมก็ได้